1/32
Looks like no tags are added yet.
Name | Mastery | Learn | Test | Matching | Spaced |
---|
No study sessions yet.
จำแนกรูปแบบธุรกิจ
กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship)
ห้างหุ้นส่วน (Partnership)
บริษัทจำกัด (Corporation)
รูปแบบองค์กรธุรกิจ: ที่เป็นนิติบุคคล ได้แก่
ห้างหุ้นส่วนสามัญ จดทะเบียน
ห้างหุ้นส่วนจำกัด
บริษัทจำกัด
บริษัทมหาชนจำกัด
องค์กรธุรกิจจัดตั้งหรือจดทะเบียนภายใต้กฎหมายเฉพาะ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ: ที่ไม่เป็นนิติบุคคล ได้แก่
กิจการเจ้าของคนเดียว
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ: ที่ไม่เป็นนิติบุคคล อาจต้องทำอะไร
จดทะเบียนตาม พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์
การประกอบกิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship)
มีอำนาจตัดสินใจแต่เพียงผู้เดียว
รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว, ขอบเขตความรับผิดชอบมีไม่จำกัด
ไม่ซับซ้อน, ก่อตั้ง/เลิกกิจการได้ง่าย
เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา***
ข้อเสีย ของการประกอบกิจการแบบเจ้าของคนเดียว
ดำเนินกิจการที่ไม่ค่อยเป็นระบบ
ข้อจำกัดในการขยายกิจการ/ เพิ่มทุน
รับผิดชอบหนี้สินไม่จำกัดจำนวน
ปัญหาความน่าเชื่อถือ
โอกาสขยายกิจการ/ ค.ก้าวหน้าพนง.น้อย
การประกอบการแบบ ห้างหุ้นส่วน (Partnership)
เป็นสัญญาระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไป
ตกลงทำกิจการร่วมกัน
มีวัตถุประสงค์เพื่อนำกำไรมาแบ่งกัน
ประเภทของ ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnerhip)
ห้างหุ้นส่วนจำกัด (Limited Partnership)
ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnership)
ผู้เป็นหุ้นส่วน 2 คนขึ้นไป
เป็นหุ้นส่วนจำพวก ไม่จำกัดความรับบผิดชอบ
ผู้เป็นหุ่นส่วนทุกคนเข้าเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้
จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือไม่ก็ได้
ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnership) ประเภท
ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิได้จดทะเบียน
ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน = ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ได้รับสิทธิทางกฎหมายเพิ่มขึ้น
ห้างหุ้นส่วนจำกัด (Limited Partnership)
ประกอบด้วยผู้เป็นหุ้นส่วน 2 ประเภท
หุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิด
= รับผิดจำกัดเพียงจำนวนเงินที่ตนรับว่าจะลงทุนในห้างหุ้นส่วนเท่านั้น
หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิด
= รับผิดในบรรดาหนี้สินทั้งปวงของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จำกัดจำนวน
= เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ
ข้อดี การประกอบกิจการแบบ ห้างหุ้นส่วน
จัดตั้ง/ยกเลิกกิจการทำได้ง่าย
มั่นคง น่าเชื่อถือกว่าแบบ เจ้าของคนเดียว
ระดมทุนหาได้ง่ายกว่า เจ้าของคนเดียว
รูปแบบการดำเนินงานไม่ได้ขึ้นตรงกับเจ้าของคนเดียว
ข้อจำกัดทางกฎหมายไม่มากนัก
ข้อเสีย การประกอบกิจการแบบ ห้างหุ้นส่วน
ความรผช. ต่อหนี้สินไมจำกัดจำนวน
ความยุ่งยากในการตัดสินใจ จากหุ้นส่วนหลายคน
การถอนทุนจากการเป็นหุ้นส่วนทำได้ยาก
การโอนหุ้นทำได้ยาก
ข้อจำกัดในการขยายกิจการ/โอกาสเติบโตของธุรกิจ
ธุรกิจอาจสะดุด/เกิดปัญหาได้ง่าย หากหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่ง “ทุจริต”
การประกอบการแบบบริษัทจำกัด (Corporation)
ต้องมีผู้ร่วมลงทุน อย่างน้อย 3 คน
แบ่งทุนออกเป็นหุ้น และมีมูลค่าหุ้นเท่าๆกัน
มูลค่าหุ้น ต้องไม่ต่ำกว่า 5 บาท
ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้น มีจำกัด (เฉพาะจำนวนเงินค่าหุ้นที่ยังส่งใช้ไม่ครบ)
การจัดตั้งมีขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องดำเนินการ ขออนุญาตจัดตั้งจากรัฐ
โครงสร้างของบริษัทจำกัด (Corporate Structure)
ผู้ถือหุ้น (Stock Holders)
คณะกรรมการ (Board of Directors)
ผู้บริหารระดับสูง (Top Management)
ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Management)
พนักงาน (Officers)
ขั้นตอนการจัดตั้ง บริษัทจำกัด (Corporation)
ผู้เริ่มก่อตั้ง 3 คนขึ้นไป เข้าชื่อกัน ทำหนังสือบริคณห์สนธิขึ้น แล้วไปจดทะเบียน
จดทะเบียนเสร็จ ต้องจัดให้หุ้น มีผู้เข้าชื่อจองซื้อหุ้นจนครบ
ดำเนินการประชุมตั้งบริษัท แต่งตั้งกรรมการบริษัท
ผู้เริ่มก่อการมอบหมายกิจการให้กรรมการบริษัท รับไปดำเนินการ
ผู้เริ่มก่อการและผู้จองหุ้น ชำระค่าหุ้นอย่างน้อยร้อยละ 25 ของมูลค่าหุ้น
เมื่อได้รับเงินค่าหุ้น กรรมการต้องไปขอจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ภายใน3เดือน
บริษัทมหาชนจำกัด
จัดตั้งขึ้นเพื่อ เสนอขายหุ้นต่อประชาชน
มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป รวมนิติบุคคล
บุคลลธรรมดา - ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.6 (ถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า 50% ของหุ้นทั้งหมด)
*เปิดโอกาสให้ประชาชน ป้องกันไม่ให้อำนาจบริหารตกอยู่ในมือผู้ถือหุ้นรายใดรายหนึ่ง
ผู้ถือหุ้นที่เหลือ - ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 10
การจัดตั้ง บริษัทมหาชนจำกัด
บุคคลธรรมดา 15 คนขึ้นไป = “ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัท”
ทำหนังสือบริคณสนธิห์ → จดทะเบียนการค้าที่กระทรวงพาณิชย์
เสนอขายหุ้นต่อประชาชน ขออนุญาตจาก สนง. คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) แล้วรายานผลการขายหุ้น
เมื่อจองหุ้นครบ จะมีการเรียกประชุมภายใน 2 เดือน ไม่เกิน 6 เดือน
แจ้งผู้จองหุ้น ชำระค่าหุ้นเต็มจำนวน
จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทภายใน 3 เดือน
หุ้นส่วนของบริษัทจำกัด ได้แก่
หุ้นทุน
หุ้นกู้
หุ้นทุน ได้แก่
หุ้นสามัญ (Common Stock or Share)
หุ้นบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock)
หุ้นสามัญ (Common Stock or Share)
ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิออกเสียงในการลงมติ
แบ่งเป็น
หุ้นที่ระบุชื่อ
หุ้นที่ออกให้แก่ผู้ถือ (ไม่ได้สิทธิในการออกเสียง)
ผู้ถือหุ้นมีส่วนได้ส่วนเสียโดยตตรงต่อกิจการบริษัท
หุ้นบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock)
ไม่มีสิทธิ์ออกเสียงลงคะแนน
ได้รับเงินปันผลก่อน ผู้ถือหุ้นสามัญ
หุ้นกู้
สัญญาที่บริษัทจะจ่ายเงินคืนให้แก่ผู้ร่วมลงทุนตมระยะเวลาที่กำหนด
มููลค่า 1 หุ้นต้องไม่ต่ำกว่า 100
ผุ้ถือหุ้นมีลักษณะเป็น เจ้าหนี้ของบริษัท
มีสิทธิได้รับดอกเบี้ยก่อน
ไม่มีสิทธิในการเข้าร่วมประชุม/ ลงคะแนนเสียง
ธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchising Business)
เป็นระบบการดำเนินธุรกิจในการกระจายสินค้า/บริการสู่ผู้บริโภค โดยผู้พัฒนาถ่ายทอดสิทธิ์ ให้ผู้ที่สนใจร่วมทำธุรกิจด้วย
วิวัฒนาการมาจาก ระบบการเก็บภาษี เกิดขึ้นครังแรกใน ประเทศอังกฤษ
ประกอบด้วย
การใช้เครื่องหมายการค้า
ชื่อการค้าบริษัท
ระบบบริหารของเข้าแฟรนไชส์
เจ้าของแฟรนไชส์ / แฟรนไชซอร์ (Franchisor)
ผู้พัฒนาคิดค้นวิธีการทำธุรกิจ
ผู้ซื้อแฟรนไชส์/ แฟรนไชส์ซี่ (Franchisee)
บุคคลซึ่งได้รับสิทธิ์ในการจำหน่ายและการดำเนินธุรกิจ
ประเภทของธุรกิจแฟรนไชส์
Product or Service Franchise or Trademark Franchise
Business Franchise or Package Franchise
Conversion Franchise
Product or Service Franchise or Trademark Franchise
ให้สิทธิในตัวผลิตภัณฑ์ / เครื่องหมายการค้า
ผู้จัดจำหน่ายมักจะกำหนดมาตรฐานทางด้านคุณภาพต่างๆ ในปฏิบัตืตามอย่างเคร่งครัด
Ex: ตัวแทนจำหน่ายรถยนต์
Business Franchise or Package Franchise
**รูปแบบแฟรนไชส์ที่นิยมในปัจจุบัน
Franchisor กำหนดระบบการทำธุรกิจให้ใช้เหมือนกันทั่วโลก
ผู้ซื้อแฟรนไชส์ จะได้รับสิทธิ์ในการให้บริการ
Ex: ร้านอาหารฟ้าสต์ฟู้ด
Conversion Franchise
เหมาะสำหรับผู้ประกอบการอิสระที่มีอยู่ ต้องการเอาธุรกิจเข้าสู้ระบบเฟรนไชส์
ผลเสีย- การดำเนินงานจะถูกควบคุมจากFranchisor มากกว่า
ผลตอบแทนที่ได้นำไปแบ่งกับFranchisor ในฐานะหุ้นส่วน
Ex: แฟรนไชส์ธุรกิจโรงแรม
ประเภทการให้สิทธิ์แฟรนไชส์
แฟรนไชส์หลัก (Master Franchise)
แฟรนไชส์รายบุคคล / แฟรนไชส์ย่อย (Individual Franchise or Sub-Franchise)
แฟรนไชส์แบบพัฒนาพื้นที่ (Sub-Area License or Development Franchise)